การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างระบบเมืองชายฝั่งให้มีความพร้อมในการรับมือกับความเสี่ยงจาก คลื่นยักษ์สึนามิ จังหวัดภูเก็ตในประเทศไทย ถูกเลือกให้เป็นกรณีศึกษาที่จะใช้ประกอบในการอธิบายแนวคิด พื้นฐานของกระบวนการสร้างความพร้อมของเมืองเพื่อรับมือกับความเสี่ยงต่างๆ ทั้งนี้การศึกษามุ่งเน้นถึงการ อธิบายผลกระทบจากคลื่นยักษ์สึนามิในปี 2547 ที่มีต่อชุมชน รวมถึงบทบาทของสถาบันในระดับชาติจนถึงระดับ ท้องถิ่นในการฟื้นฟูจังหวัดภูเก็ต หลังเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิ การศึกษาชี้ให้เห็นถึงความพร้อมของจังหวัด ภูเก็ตในการรับมือกับความเสี่ยงโดยใช้การเปรียบเทียบสมรรถนะจากคุณลักษณะเฉพาะของชุมชนในอุดมคติ และประยุกต์คุณลักษณะเหล่านั้นในบริบทท้องถิ่น จากกระบวนการศึกษาดังกล่าวได้อธิบายว่านโยบายการ ประโยชน์ใช้ที่ดิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจของเมือง และศักยภาพในการปรับตัวของสถาบันเป็นองค์ประกอบที่มี ความสำคัญต่อการสร้างความพร้อมของเมืองเพื่อรับมือกับความเสี่ยงดังกล่าว การกำหนดกลยุทธ์ในการควบคุม ความหนาแน่นของเมือง และข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินที่คำนึงถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม สามารถยกระดับ ความมีเสถียรภาพของระบบชุมชนเมือง และสิ่งเหล่านี้สามารถป้องกันผลกระทบจากคลื่นยักษ์สึนามิได้

The purpose of this study is to build city resilience of the coastal urban system to tsunami. To explain the basis concept of city resilience, Phuket Province in Thailand was selected as a case study. The study aims to explore how 2004 tsunami affected communities and how a wide range of institutions at national to local scales took actions to recover Phuket after 2004 tsunami event. The study expresses resilience of Phuket by adopting benchmarks from characteristics of ideal community resilience and adapting those benchmarks to the local context. As the results, the study found that land use policies, economic activities, and institutional adaptive capacities were crucial elements contributing to the city resilience. Urban diversity strategy formation and land use ordinances with a concern on environmental problems could enhance stability of urban system and those could buffer effects of tsunami.

Urban Planning and Management for City Resilience to Disasters. การจัดการและการวางผังเมืองเพื่อให้เมืองมีความสามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมหลังภัยพิบัติ / PROMSAKA NA SAKONNAKRON, S; Korkietpitak, W; Rizzi, Paola. - (2013). (Intervento presentato al convegno 51st Annual Kasetsart University Academic and Technical Conference tenutosi a Bangkok nel 5-7 february 2013).

Urban Planning and Management for City Resilience to Disasters. การจัดการและการวางผังเมืองเพื่อให้เมืองมีความสามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมหลังภัยพิบัติ

RIZZI, Paola
2013-01-01

Abstract

The purpose of this study is to build city resilience of the coastal urban system to tsunami. To explain the basis concept of city resilience, Phuket Province in Thailand was selected as a case study. The study aims to explore how 2004 tsunami affected communities and how a wide range of institutions at national to local scales took actions to recover Phuket after 2004 tsunami event. The study expresses resilience of Phuket by adopting benchmarks from characteristics of ideal community resilience and adapting those benchmarks to the local context. As the results, the study found that land use policies, economic activities, and institutional adaptive capacities were crucial elements contributing to the city resilience. Urban diversity strategy formation and land use ordinances with a concern on environmental problems could enhance stability of urban system and those could buffer effects of tsunami.
2013
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างระบบเมืองชายฝั่งให้มีความพร้อมในการรับมือกับความเสี่ยงจาก คลื่นยักษ์สึนามิ จังหวัดภูเก็ตในประเทศไทย ถูกเลือกให้เป็นกรณีศึกษาที่จะใช้ประกอบในการอธิบายแนวคิด พื้นฐานของกระบวนการสร้างความพร้อมของเมืองเพื่อรับมือกับความเสี่ยงต่างๆ ทั้งนี้การศึกษามุ่งเน้นถึงการ อธิบายผลกระทบจากคลื่นยักษ์สึนามิในปี 2547 ที่มีต่อชุมชน รวมถึงบทบาทของสถาบันในระดับชาติจนถึงระดับ ท้องถิ่นในการฟื้นฟูจังหวัดภูเก็ต หลังเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิ การศึกษาชี้ให้เห็นถึงความพร้อมของจังหวัด ภูเก็ตในการรับมือกับความเสี่ยงโดยใช้การเปรียบเทียบสมรรถนะจากคุณลักษณะเฉพาะของชุมชนในอุดมคติ และประยุกต์คุณลักษณะเหล่านั้นในบริบทท้องถิ่น จากกระบวนการศึกษาดังกล่าวได้อธิบายว่านโยบายการ ประโยชน์ใช้ที่ดิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจของเมือง และศักยภาพในการปรับตัวของสถาบันเป็นองค์ประกอบที่มี ความสำคัญต่อการสร้างความพร้อมของเมืองเพื่อรับมือกับความเสี่ยงดังกล่าว การกำหนดกลยุทธ์ในการควบคุม ความหนาแน่นของเมือง และข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินที่คำนึงถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม สามารถยกระดับ ความมีเสถียรภาพของระบบชุมชนเมือง และสิ่งเหล่านี้สามารถป้องกันผลกระทบจากคลื่นยักษ์สึนามิได้
Urban Planning and Management for City Resilience to Disasters. การจัดการและการวางผังเมืองเพื่อให้เมืองมีความสามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมหลังภัยพิบัติ / PROMSAKA NA SAKONNAKRON, S; Korkietpitak, W; Rizzi, Paola. - (2013). (Intervento presentato al convegno 51st Annual Kasetsart University Academic and Technical Conference tenutosi a Bangkok nel 5-7 february 2013).
File in questo prodotto:
Non ci sono file associati a questo prodotto.

I documenti in IRIS sono protetti da copyright e tutti i diritti sono riservati, salvo diversa indicazione.

Utilizza questo identificativo per citare o creare un link a questo documento: https://hdl.handle.net/11388/75320
Citazioni
  • ???jsp.display-item.citation.pmc??? ND
  • Scopus ND
  • ???jsp.display-item.citation.isi??? ND
social impact